วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่8การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

นยุคโลกาภิวัตน์ประเทศต่าง ๆ ต้องประสานประโยชน์และพึ่งพากันอย่างเป็นระบบ จึงต้องรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และปัจจุบันเป็นโลกไร้พรมแดนมีการซื้อขายทางอินเทอร์เน็ต มีเครือข่ายโยงถึงกันได้สะดวกรวดเร็ว อ่านเพิ่มเติม

บทที่8ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ที่ไม่ใช่รัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ในโลกอ่านเพิ่มเติม

บทที่7องค์การระหว่างประเทศไทยที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน

แต่องค์การที่สำคัญที่สุดและมีบทบาทต่อประเทศไทยในประเด็นสิทธิมนุษยชนมากที่สุดคือ สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (United Nations High Commissioner for Refugees : UNHCR) ซึ่งเป็นองค์การที่ทไหน้าที่ช่วยเหลือการกลับอ่านเพิ่มเติม

บทที่7สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ สิทธิเหล่านี้ "เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเองเพียงเพราะเธอหรือเขาเป็นมนุษย์" อ่านเพิ่มเติม

บทที่6ข้อตกลงระหว่างประเทศ

 กฎหมายที่เกี่ยวกับตนเอง
1.   กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล
-          ชื่อบุคคล  (Name)  เป็นถ้อยคำที่ใช้เรียกบุคคลเพื่อบ่งบอกถึงตัวบุคคลใด  ประกอบด้วยชื่อ  ชื่อรอง  และชื่อสกุล  เพราะเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในการจำแนกบุคคล  ส่วนชื่อรองกฎหมายไม่ได้อ่านเพิ่มเติม

บทที่6กฎหมาย

กฎหมาย คือ  กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น  หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ  เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ  เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามอ่านเพิ่มเติม

บทที่5การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

กระบวนการทั้งหลายเหล่านี้เป็นกระบวนการสำคัญที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540) ได้กำหนดไว้ในหลายๆส่วนรวมทั้งโดยเฉพาะในหมวด 10 อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ "การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ" อ่านเพิ่มเติม

บทที่5การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

สังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้ ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้นำของสังคมเป็นหลักในการปกครอง ผู้นำของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของประธานาธิบดีหรือพระมหากษัตริย์ อ่านเพิ่มเติม

บทที่4คุณลักษณะของพลเมืองดี

การเคารพในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ตามขอบเขตที่บัญญัติไว้ในกฏหมาย
การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินปัญหา ข้อขัดแย้ง
การเคารพในกฏ กติกาของสังคมเพื่อความสงบสุขและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม

บทที่4พลเมืองดี

คุณลักษณะพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลกที่สำคัญคือ การเคารพกฎหมายและกติกาสังคม การเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและบุคคลอื่น มีเหตุผล รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และอ่านเพิ่มเติม

บทที่3การเลือกรับวัฒนธรรมสากล

เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะ  ที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม  หรือบริบทของสังคมนั้นๆ  แต่วัฒนธรรมของสังคมทุกสังคมมีความคล้อยคลึงกัน มีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกัน  อ่านเพิ่มเติม

บทที่3 วัฒนธรรม

วัฒนธรรมไทย หมายถึงสิ่งต่างๆ ที่คนไทยกำหนดหรือสร้างขึ้นหรือยอมรับเข้ามาเพื่อช่วยแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของสมาชิกในสังคมไทย ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้มีการสืบทอดแพร่หลาย และมีการปรับปรุงพัฒนาต่อๆ กันมาเพื่อให้มีความเหมาะอ่านเพิ่มเติม

บทที่2ปัญหาทางสังคม

ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติม

บทที่2 การเปลี่ยนแปลและพัฒนาทางสังคม/การเปลี่ยนแปลทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี อ่านเพิ่มเติม

บทที่1การจัดระเบียบทางสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคมอ่านเพิ่มเติม